ในเขตกรุงเทพมหานคร
สามารถใช้บริการได้ที่โรงพยาบาล และคลีนิกยาเสพติด ในศูนย์บริการสาธารณสุข
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ได้แก่ |
|
โรงพยาบาล
|
|
๑. โรงพยาบาลราชวิถี โทร. ๐ - ๒๒๔๖ -
๐๐๕๒ ต่อ ๔๓๐๒
๒. โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า โทร. ๐ - ๒๒๔๖ - ๑๔๐๐ ถึง ๑๔๒๘ ต่อ ๓๑๘๗ ๓. โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพฯ โทร. ๐ - ๒๔๑๑ - ๒๔๑๙๑ ๔. โรงพยาบาลนิติจิตเวช โทร ๐ - ๒๔๔๑ - ๙๐๒๖ - ๙ ๕. โรงพยาบาลตากสิน โทร. ๐ - ๒๘๖๓ - ๑๓๗๑ ถึง ๒, ๐ - ๒๔๓๗ - ๐๑๒๓ ต่อ ๑๑๕๓,๑๒๔๘ ในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถใช้บริการได้ที่โรงพยาบาล และคลีนิกยาเสพติด ในศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ได้แล้ว |
|
|
|
คลินิกยาเสพติดในศูนย์บริการสาธารณสุข
สำนักอนามัย กทม.
|
|
๑. คลินิกยาเสพติด ๑ ลุมพินี
|
โทร. ๐ - ๒๒๕๐
- ๐๒๘๖
|
๒. คลินิกยาเสพติด ๒ สี่พระยา
|
โทร. ๐ - ๒๒๓๖
- ๔๑๗๔
|
๓. คลินิกยาเสพติด ๓ บางอ้อ
|
โทร. ๐ - ๒๔๒๔
- ๖๙๓๓
|
๔. คลินิกยาเสพติด ๔ บางซื่อ
|
โทร. ๐ - ๒๕๘๗
- ๐๘๗๓
|
๕. คลินิกยาเสพติด ๕ ดินแดน
|
โทร. ๐ - ๒๒๔๕
- ๐๖๔๐
|
๖. คลินิกยาเสพติด ๖ วัดธาตุทอง
|
โทร. ๐ - ๒๓๙๑
- ๘๕๓๙
|
๗. คลินิกยาเสพติด ๗ สาธุประดิษฐ์
|
โทร. ๐ - ๒๒๘๔
- ๓๒๔๔
|
๘. คลินิกยาเสพติด ๘ ซอยอ่อนนุช
|
โทร. ๐ - ๒๓๒๑
- ๒๕๖๖
|
๙. คลินิกยาเสพติด ๙ บางขุนเทียน
|
โทร. ๐ - ๒๔๖๘
- ๒๕๗๐
|
๑๐. คลินิกยาเสพติด ๑๐ สโมสรวัฒนธรรม
|
โทร. ๐ - ๒๒๘๑
- ๙๗๓๐
|
๑๑. คลินิกยาเสพติด ๑๑ ลาดพร้าว
|
โทร. ๐ - ๒๕๑๓
- ๒๕๐๙
|
๑๒. คลินิกยาเสพติด ๑๒ วงศ์สว่าง
|
โทร. ๐ - ๒๕๘๕
- ๑๖๗๒
|
๑๓. คลินิกยาเสพติด ๑๓ ภาษีเจริญ
|
โทร. ๐ - ๒๔๑๓
- ๒๔๓๕
|
๑๔. คลินิกยาเสพติด ๑๔ คลองเตย
|
โทร. ๐ - ๒๒๔๙
- ๑๘๕๒
|
๑๕. คลินิกยาเสพติด ๑๕ วัดไผ่ตัน
|
โทร. ๐ - ๒๒๗๐
- ๑๙๘๕
|
|
วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2558
สถาบันบำบัดผู้ติดยาเสพติด
การป้องกันการติดยาเสพติด
การป้องกันการติดยาเสพติด
|
๑. ป้องกันตนเอง ไม่ใช้ยาโดยมิได้รับคำแนะนำจากแพทย์
และจงอย่าทดลองเสพยาเสพติดทุกชนิดโดยเด็ดขาด เพราะ
ติดง่ายหายยาก |
๒. ป้องกันครอบครัว ควรสอดส่องดูแลเด็กและบุคคลในครอบครัวหรือที่อยู่รวมกัน
อย่าให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ต้อง
คอยอบรมสั่งสอนให้รู้ถึงโทษและภัยของยา-เสพติด หากมีผู้เสพยาเสพติดในครอบครัว จงจัดการให้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล ให้หายเด็ดขาด การรักษาแต่แรกเริ่มติดยาเสพติดมีโอกาสหายได้เร็วกว่าที่ปล่อยไว้นานๆ |
๓. ป้องกันเพื่อนบ้าน โดยช่วยชี้แจงให้เพื่อนบ้านเข้าใจถึงโทษและภัยของยาเสพติด
โดยมิให้เพื่อนบ้านรู้เท่าไม่ถึงการณ์
ต้องถูกหลอกลวง และหากพบว่าเพื่อนบ้านติดยาเสพติด จงช่วยแนะนำให้ไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล |
๔. ป้องกันโดยให้ความร่วมมือกับทางราชการ เมื่อทราบว่าบ้านใดตำบลใด
มียาเสพติดแพร่ระบาดขอให้แจ้ง
เจ้าหน้าที่ ตำรวจทุกแห่งทุกท้องที่ทราบ หรือที่ศูนย์ปราบปรามยาเสพติดให้โทษ กรมตำรวจ (ศปส.ตร.) โทร. 2527962 , 0-252-5932 และ ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) สำนักนายกรัฐมนตรี โทร. 2459350-9 |
|
ยาเสพติดป้องกันได้
|
๑. ป้องกันตนเอง ทำได้โดย.. • ศึกษาหาความรู้ เพื่อให้รู้เท่าทันโทษพิษภัยของยาเสพติด • ไม่ทดลองใช้ยาเสพติดทุกชนิดและปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน • ระมัดระวังเรื่องการใช้ยา เพราะยาบางชนิดอาจทำให้เสพติดได้ • ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ • เลือกคบเพื่อนดี ที่ชักชวนกันไปในทางสร้างสรรค์ • เมื่อมีปัญหาชีวิต ควรหาหนทางแก้ไขที่ไม่ข้องเกี่ยวกับยาเสพติดหากแก้ไขไม่ได้ควรปรึกษาผู้ใหญ่ |
|
๒. ป้องกันครอบครัว ทำได้โดย
• สร้างความรัก ความอบอุ่นและความสัมพันธ์อันดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว • รู้และปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง • ดูแลสมาชิกในครอบครัว ไม่ให้ข้องเกี่ยวกับยาเสพติด • ให้กำลังใจและหาทางแก้ไข หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวติดยาเสพติด |
|
๓. ป้องกันชุมชน ทำได้โดย
• ช่วยชุมชนในการต่อต้านยาเสพติด • เมื่อทราบแหล่งเสพ แหล่งค้า หรือผลิตยาเสพติด ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบทันที ที่... • สำนักงาน ป.ป.ส. โทร. 02-2459414 หรือ 02-2470901-19 ต่อ 258 โทรสาร 02-2468526 • ศูนย์รับแจ้งข่าวยาเสพติด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โทร. 1688 |
|
เยาวชนกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ปัจจุบันเยาวชนที่ตกเป็นทาสของยาเสพติด ส่วนมากมาจากสาเหตุหลายประการที่เกิดจากตัวเยาวชนเอง
เช่น
|
- ความอยากรู้ อยากทดลอง ความคึกคะนองของเยาวชน
-ความต้องการให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อนหรือเข้ากับเพื่อนได้
- ความไม่รู้หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเยาวชนใช้ยาในทางที่ผิดหรือหลงเชื่อคำโฆษณา
- จิตใจของเยาวชนเอง จิตใจอ่อนแแอ ใจคอไม่หนักแน่น เมื่อมีปัญหา ไม่สมหวัง ไม่ไตร่ตรองหาเหตุผลเพื่อแก้ปัญหา ก็ใช้ยาหรือยาเสพติดเป็นเครื่องช่วยระงับความรู้สึกทุกข์ของตน ใช้บ่อยๆ ทำให้เกิดการเสพติด ฉะนั้น การป้องกันและแก้ไขตนเองของเยาวชนให้ปลอดภัยจากปัญหายาเสพติด สามารถกระทำได้โดย |
|
๑. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของยาเสพติด และระมัดระวังในการใช้ยา
|
๒. รู้จักเลือกคบเพื่อนที่ดี
ส่งเสริมให้คิดและกระทำสิ่งดีมีประโยชน์กล้าพูดปฏิเสธเพื่อนที่ชักจูงไปในทางที่ไม่ดี
เช่น
การพูดปฏิเสธเพื่อนที่ชวนให้ลองเสพยาเสพติด |
๓. ใช้เวลาว่าง และความอยากรู้ อยากลอง
ไปในทางที่เป็นประโยชน์พึงระลึกเสมอว่าตนเองนั้นมีคุณค่าทั้งต่อตนเอง
ครอบครัว และสังคม |
๔. มีความภาคภูมิใจและนับถือตนเอง
ด้วยการไม่พึงพาหรือเกี่ยวข้องอบายุมขและสิ่งเสพติดใดๆ ซึ่งจะนำความเสื่อม
ไปสู่ชีวิตของตนเอง |
๕.รู้จักแก้ไขปัญหาชีวิตของตนเองด้วยเหตุและผล
|
๖. รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง ด้วยการตั้งใจศึกษาเล่าเรียน
เชื่อฟังคำสั่งสอนของ พ่อแม่และประพฤติแต่ในสิ่งที่ดีงาม
จะช่วยให้เยาวชนประสบกับความสำเร็จในชีวิต |
๗. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส
เข้าใจวิธีการดำเนินชีวิตและยอมรับความเป็นจริง ที่ตนเองเป็นอยู่
โดยนำหลักศาสนามาเป็น
แนวทางในการดำเนินชีวิต จะช่วยให้เยาวชนเกิดความมั่นคงทางด้านจิตใจมากขึ้น |
๘. เมื่อมีปัญหา รู้จักปรึกษาผู้ใหญ่ พ่อ แม่ หรือผู้ที่ไว้วางใจ หรือ
หน่วยงานต่างๆ ที่รับให้คำปรึกษา ในฐานะที่เยาวชนเป็น
สมาชิกคนหนึ่งของครอบครัว จึงควรมีส่วนช่วย พ่อแม่ ผู้ปกครอง |
|
การป้องกันปัญหายาเสพติดแก่ครอบครัวของตนเอง
|
๑. ช่วย พ่อ แม่ สอดส่องดูแลน้องๆ หรือสมาชิกคนอื่นๆภายในครอบครัวมิให้กระทำสิ่งที่ผิด เช่น การคบเพื่อนที่ไม่ดี การมั่วสุมในอบายมุขและสิ่งเสพติด เยาวชนควรทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดีแก ่สมาชิกคนอื่นๆภายในครอบครัวด้วย เช่น การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ความมีระเบียบวินัย ความขยันหมั่นเพียร |
๒. ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว
มีความรักใคร่กลมเกลียวและมีความเข้าใจกัน
ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเมื่อมีปัญหา |
๓. เมื่อมีโอกาสควรบอกกล่าวหรือตักเตือนสมาชิกคนอื่นๆภายในครอบครัว
โดยเฉพาะน้องๆให้รู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยของ
ยาเสพติดวิธีการใช้ยาอย่างปลอดภัย |
๔. ช่วยทำให้ พ่อ แม่ เกิดความสบายใจและภาคภูมิใจด้วยการประพฤติดี
ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน แบ่งเบาภาระหน้าที่การงาน
ของพ่อ แม่ ภายในบ้าน |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)